ความเป็นมาฟุตบอลไทย

ความเป็นมาฟุตบอลไทย ฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยประเทศไทยมีการจัดฟุตบอลอาชีพหลักคือ คือ ไทยลีกจัดการโดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ประวัติฟุตบอล  โดยในอดีตได้มีการแข่งขันโปรลีกจัดการโดยการกีฬาแห่งประเทศไทยซึ่งเป็นการแข่งขันของทีมจากหลายภูมิภาคในประเทศไทย ฟุตบอล

สำหรับทีมที่ชนะเลิศในไทยลีกจะมีสิทธิเข้าร่วมการแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ที่เป็นการแข่งขันระดับทวีปเอเชีย และทีมที่ชนะในลีกนี้ก็จะมีสิทธิเข้าร่วมเล่นใน ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ ซึ่งเป็นการแข่งขันของทีมสโมสรในระดับโลก ในขณะเดียวกันทีมรองชนะเลิศจากไทยลีกจะไปร่วมเล่นใน เอเอฟซีคัพ ประวัติฟุตบอลในต่างประเทศ

เจ้าภาพการแข่งขัน

ความเป็นมาฟุตบอลไทย ประเทศไทย ได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลในระดับนานาชาติหลายครั้ง ได้แก่

  • เอเชียนคัพ – เจ้าภาพ 2 ครั้ง – 1972, 2007 (เจ้าภาพร่วม)
  • ฟุตบอลเอเชียเยาวชน – เจ้าภาพ 10 ครั้ง – โดย 9 ครั้งจัดที่กรุงเทพ และ 1 ครั้งจัดที่เชียงใหม่ – 1961, 1962, 1967, 1969, 1972, 1974, 1976, 1980, 1982, 1998 (เชียงใหม่)
  • ฟุตบอลโลกหญิงเยาวชน – เจ้าภาพ 1 ครั้ง – 2004
  • ฟุตบอลเอเชียหญิง – เจ้าภาพ 2 ครั้ง – 1983, 2003
  • นอกจากนี้ยังมีการแข่งขันกีฬาที่สำคัญโดยมีการแข่งขันฟุตบอลร่วมด้วยเช่นใน เอเชียนเกมส์ และ ซีเกมส์ และยังมีการแข่งขันที่จัดขึ้นเป็นรายปีเช่น คิงส์คัพ ที่มีการเชิญทีมชาติอื่นมาร่วมเล่น

เกร็ดความรู้ ฟุตบอล

การยิงลูกโทษเกิดขึ้นครั้งแรกจากความคิดของผู้รักษาประตูชาวไอร์แลนด์ วิลเลียม แม็คครูม (William McCrum) ในปี พ.ศ. 2433 (ค.ศ. 1890) โดยได้เสนอไอเดียกับ สมาคมฟุตบอลไอร์แลนด์ และได้มีการเสนอความคิดนี้ต่อให้กับ สมาคมฟุตบอลนานาชาติ ซึ่งมีการรับรองเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2434 และมีการใช้กันในช่วงฤดูกาล 1891-92
ในการแข่งขันฟุตบอลจะมีการยิงลูกโทษสองลักษณะคือ ลักษณะแรกการยิงลูกโทษระหว่างการแข่งขัน เกิดจากที่ผู้เล่นในฝ่ายรับทำฟาล์วผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามภายในเขตประตู โดยผู้ที่ยิงลูกโทษจะมีสิทธิยิงได้หนึ่งครั้งโดยเมื่อยิงเสร็จแล้วจะปล่อยให้เกมเล่นต่อตามปกติ ในลักษณะที่สองคือการยิงลูกโทษภายหลังจากหมดเวลาการแข่งขัน และทั้งสองฝ่ายมีคะแนนเท่ากัน จะทำการยิงลูกโทษในการตัดสินผู้ชนะ โดยการยิงลูกโทษลักษณะนี้จะ เริ่มต้นโดยผู้ยิงฝ่ายละ 5 คน สลับกันยิงลูกโทษ โดยถ้าไม่สามารถตัดสินกันได้ให้มีการยิงต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้ผู้ชนะ ฟุตบอล
โกลเดนโกล (Goalden goal) หรือ กฎประตูทอง เป็นกติกาในกีฬาฟุตบอลไว้ตัดสินหาผู้ชนะ ในเกมที่ต้องตัดสินผลแพ้ชนะ และการแข่งขันในเกมเสมอกันในช่วงเวลาปกติ (90 นาที) ปัจจุบันกฎนี้ไม่ถูกใช้ในเกมการแข่งขันของฟีฟ่าอีกต่อไปแล้ว ประวัติฟุตบอลในต่างประเทศ

  • ถ้าใช้กฎโกลเดนโกล ในช่วงต่อเวลาพิเศษอีกครึ่งละ 15 นาทีนั้น ถ้าทีมไหนยิงประตูได้ก่อน ทีมนั้นจะชนะไปเลยโดยไม่ต้องแข่งขันต่อ แต่ถ้ายังยิงประตูกันไม่ได้จนหมดเวลา ก็จะเข้าสู่ช่วงยิงลูกโทษเพื่อหาผู้ชนะ
  • กฎนี้ถูกคิดขึ้นโดยฟีฟ่าใน ค.ศ. 1993 โดยใช้แทนคำว่า “ซัดเดน เดธ” (sudden death) เนื่องจากมีความหมายที่ค่อนข้างไปในทางลบ กฎนี้ถูกใช้ครั้งแรกในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ปี 1996 และฟุตบอลโลก 1998
  • การแข่งขันครั้งแรกที่มีการยิงโกลเดนโกลคือ นัดระหว่างออสเตรเลียกับอุรุกวัย ในเดือนมีนาคม 1993 ในรอบก่อนรองชนะเลิศของการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนโลก สำหรับการแข่งขันสำคัญที่ตัดสินกันด้วยโกลเดนโกลคือรอบชิงชนะเลิศของยูโร 1996 โดยโอลิเวอร์ เบียร์ฮอฟฟ์ ผู้เล่นของเยอรมนี ยิงโกลเดนโกลเอาชนะสาธารณรัฐเช็ค
  •  กฎโกลเดนโกลมีจุดหมายเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเล่นแบบรวดเร็วและชาญฉลาด และหลีกเลี่ยงการตัดสินด้วยจุดโทษ แต่ได้รับเสียงวิจารณ์ว่าทำให้ทีมเล่นฟุตบอลแบบเน้นการป้องกันมากขึ้น เพื่อลดโอกาสความพ่ายแพ้
  •  ใน ค.ศ.?2002 ยูฟ่าได้นำกฎซิลเวอร์โกลมาใช้แทน โดยจะคล้ายกับกฎโกลเด้นโกล แต่จะไม่หยุดเกมเมื่อมีทีมยิงประตูได้ โดยจะเล่นจนจบครึ่งแรกของการต่อเวลาพิเศษแทน
  •  ในปี 2004 ทางฟีฟ่าได้ยกเลิกกฎโกลเดนโกลหลังการแข่งขันยูโร 2004ที่ประเทศโปรตุเกส ประวัติฟุตบอล 

 

  • ใบแดงในกีฬาฟุตบอลนั้น จะแสดงโดยผู้ตัดสินต่อผู้เล่น (หรือแม้กระทั่งผู้จัดการทีม) ที่ทำผิดกฏ กติกาการแข่งขัน โดยใบแดงเป็นสัญลักษณ์ของการไล่ออกจากสนาม ใบแดงนั้นมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดไม่ใหญ่นัก (ประมาณว่าสามารถใส่ในกระเป๋าเสื้อได้) ใบแดงจะเป็นกระดาษที่มีสีแดงทั้ง 2 ด้านตามชื่อ ประวัติฟุตบอลในต่างประเทศ
  • วิธีแจกใบแดงของกรรมการคือ ในระหว่างการแข่งขัน ถ้ามีการฟาวล์เกิดขึ้น กรรมการจะเป่านกหวีดหยุดเกมชั่วคราว ถ้ากรรมการเห็นว่าการฟาวล์นั้น เป็นการทำผิดกติกาอย่างจงใจหรือทำฟาวล์อย่างรุนแรง กรรมการจะเรียกนักเตะคนนั้นมาหาตน จากนั้นกรรมการจะชูใบแดงขึ้น ถือว่าผู้เล่นนั้นได้รับใบแดงแล้ว และจะต้องออกจากสนามแข่งขัน การได้รับใบแดงนั้น อาจเป็นการได้รับใบแดงโดยตรง จากการกระทำผิดรุนแรง หรืออาจเป็นการถูกตักเตือน (ใบเหลือง) สองครั้งในการแข่งขันนัดเดียวกัน ประวัติฟุตบอล 
  • ถ้าผู้เล่นได้รับใบแดงก่อนการเริ่มเล่น สามารถส่งผู้เล่นสำรองทดแทนได้ แต่หากผู้เล่นถูกไล่ออกหลังจากเกมเริ่มแล้ว จะต้องออกจากสนาม และฝ่ายของผู้เล่นที่ถูกใบแดงจะมีผู้เล่นลดลง 1 คน (คือไม่สามารถส่งผู้เล่นลงแทนผู้เล่นที่ถูกใบแดงได้) ฟุตบอล

บทความแนะนำ